เป้าหมายหลัก (Understanding Goal):นักเรียนมีความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์ อีกทั้งตระหนักรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกรอบตัว เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main






หน่วย : แสงศิลป์กับชีวิทย์
คำถามหลัก(
Big Question) :
วิทยาศาสตร์มีผลต่อการดำรงชีวิตเราอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา : คนส่วนใหญ่คิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องยาก เป็นเรื่องที่ไกลตัว และไม่เห็นความสำคัญในการเรียนรู้ แต่ในปัจจุบันนักเรียนจำเป็นต้องใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อจำแนก แยกแยะ และให้เหตุผลต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง มองเห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หรือแม้แต่สาเหตุของการเกิดขึ้นของสิ่งต่างๆ ซึ่งการคิดวิเคราะห์จำเป็นต้องใช้ความเป็นเหตุเป็นผลเป็นพื้นฐาน ในการเข้าใจความ เหตุการณ์ต่างๆ ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่อไปได้ ดังนั้นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ควรได้รับการส่งเสริม และเพิ่มทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกฝนการจัดโครงสร้างความคิดอย่างเป็นระบบ อีกทั้งตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกรอบตัว ตลอดจนนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ

หน่วย:แสงศิลป์กับชีวิทย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 Quarter 4
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาที่อยากแก้ไขตามความสนใจ
(8.1  .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า  เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้า
( 8.1 .4/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไข ( 8.1 .4/5)
- เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นนำเสนอและ

มาตรฐาน ส 2.1
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรม
 (2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างการเรียน การทำกิจกรรมและชีวิตประจำวันและสามารถปฏิบัติได้
(2.1 .4/5)

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนับช่วงเวลาเป็นศตวรรษและสหัสวรรษ และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส4.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของมนุษย์กับปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต(ส4.1 ป.4/2)
มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(1.1 .4/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
 (1.1 .4/4)

มาตรฐาน ศ1.1
-สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ ผ่านการวาดตกแต่งผลงาน
(1.1.4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างสรรค์ งานวาดภาพระบายสี
( 1.1 .4/5)

มาตรฐาน พ 2.1
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม
 (2.1 .4/2)
มาตรฐาน พ4.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายสภาวะอารมณ์ของคนในการทำงานร่วมกันได้
(พ
4.1 ป.4/2)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
ให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่ตนเองสนใจได้ (8.1 .4/6)
- นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหา สิ่งที่อยากเรียนรู้ปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(8.1 .4/8)

























สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
- การเคลื่อนที่
ของแสงจากแหล่งกำเนิด

- การสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ
- การจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง
- การหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใส สองชนิด
- การเปลี่ยนแสงเป็นพลังไฟฟ้าและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- แสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่างๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
     มาตรฐาน ว 5.1
- เข้าใจกระบวนการทดลอง และอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสงได้
(ว
5.1 .4/1)
- เข้าใจการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ
(ว
5.1 .4/2)
- เข้าใจการจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง
(ว
5.1 .4/3)
- เข้าใจการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใส สองชนิด
(ว
5.1 .4/4)
- เข้าใจการเปลี่ยนแสงเป็นพลังไฟฟ้าและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว
5.1 .4/5)


มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรมและอยู่ร่วมกัน (ส 1.1 ป.4/3)
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่ตนนับถือเพื่อการทำกรรมและนำไปปรับใช้ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 1.1ป.4/7)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาท สามารถทำงาน รวมกิจกรรมรวมทั้งอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
(ส 2.1ป.4/2)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันผ่านการทำชิ้นงานแอนิเมชัน
(ส 4.2ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติรวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อดำรงชีวิตได้
(ส 4.2ป.4/1)

มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
 (1.1 .4/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(1.1 .4/4)


มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
 (ศ1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ1.1 ป.4/2)
- เข้าใจและสามารถจำแนกทัศนธาตุในศิลปะโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติและนำมาวาดภาพได้
(ศ1.1 ป.4/3)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะ(ศ1.1 ป.4/4-5)

มาตรฐาน พ 2.1
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1 ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1 ป.4/2)
- สามารถอธิบายและบอกวิธีการดำรงชีวิตในการให้ปลอดภัยได้
(พ 5.1 ป.4/3)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
- การเคลื่อนที่
ของแสงจากแหล่งกำเนิด

- การสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ
- การจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง
- การหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใส สองชนิด
- การเปลี่ยนแสงเป็นพลังไฟฟ้าและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- แสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่างๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- เข้าใจแสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่างๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว
5.1 .4/6)
     มาตรฐาน ว
8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษาได้ (8.1 ป.4/1 )
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้ารวมทั้งคาดการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่พบจากการเรียนรู้สังเกตได้ (8.1ป.4/2 )
- เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบได้
(8.1ป.4/3 )
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและนำเสนอผลจนสรุปเป็นความเข้าใจได้ (8.1ป.4/4 )




- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในผลงานได้
(ศ1.1 ป.4/9)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
- การเคลื่อนที่
ของแสงจากแหล่งกำเนิด

- การสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ
- การจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง
- การหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใส สองชนิด
- การเปลี่ยนแสงเป็นพลังไฟฟ้าและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- แสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่างๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- สร้างคำถามใหม่เพื่อตรวจสอบต่อไปได้
(8.1ป.4/5 )
- แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้
(8.1ป.4/6 )
- บันทึกผลและอธิบายผลการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้ได้
(8.1ป.4/7 )
- สามารถนำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนและกระบวนการให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (8.1ป.4/8 )










สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
- การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง
- การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง เสียงค่อย
- อันตรายจากเสียงดัง
     มาตรฐาน ว 5.1
- เข้าใจกระบวนการทดลองการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง
(ว
5.1 .5/1)
- เข้าใจกระบวนการทดลองเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ (ว
5.1 .5/2)
- เข้าใจกระบวนการทดลองเกิด เสียงดัง เสียงค่อย (ว
5.1 .4/3)
- สำรวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟังเสียงดังมากๆได้
(ว
5.1 .5/4)
มาตรฐาน ว
8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษาได้ (8.1 ป.4/1 )
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้ารวมทั้งคาดการณ์เกี่ยวกับ
มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรมและอยู่ร่วมกัน (ส 1.1 ป.4/3)
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่ตนนับถือเพื่อการทำกรรมและนำไปปรับใช้ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 1.1ป.4/7)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาท สามารถทำงาน รวมกิจกรรมรวมทั้งอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
(ส 2.1ป.4/2)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันผ่านการทำชิ้นงานแอนิเมชัน
(ส 4.2ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติรวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อดำรงชีวิตได้
(ส 4.2ป.4/1)

มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
 (1.1 .4/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(1.1 .4/4)


มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
 (ศ1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ1.1 ป.4/2)
- เข้าใจและสามารถจำแนกทัศนธาตุในศิลปะโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติและนำมาวาดภาพได้
(ศ1.1 ป.4/3)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะ(ศ1.1 ป.4/4-5)

มาตรฐาน พ 2.1
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1 ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1 ป.4/2)
- สามารถอธิบายและบอกวิธีการดำรงชีวิตในการให้ปลอดภัยได้
(พ 5.1 ป.4/3)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
- การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง
- การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง เสียงค่อย
- อันตรายจากเสียงดัง
สิ่งที่พบจากการเรียนรู้สังเกตได้ (8.1ป.4/2 )
- เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบได้
(8.1ป.4/3 )
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและนำเสนอผลจนสรุปเป็นความเข้าใจได้ (8.1ป.4/4 )
- สร้างคำถามใหม่เพื่อตรวจสอบต่อไปได้
(8.1ป.4/5 )
- แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้
(8.1ป.4/6 )
- บันทึกผลและอธิบายผลการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้ได้
(8.1ป.4/7 )







- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในผลงานได้
(ศ1.1 ป.4/9)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
- การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง
- การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง เสียงค่อย
- อันตรายจากเสียงดัง















- สามารถนำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนและกระบวนการให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (8.1ป.4/8 )









สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
 ถอดบทเรียนการเรียนรู้
- จัดนิทรรศการ
- ประเมินตนเองสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนา
- ถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
นำเสนอ และจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว
8.1 .6/8)
มาตรฐาน ส 3.1
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
(ส 3.1 ป.5/2)
- บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
(ส 3.1 ป.6/3)
มาตรฐาน ส 3.2
อธิบายความสัมพันธ์ของการทำแอนนิเมชันที่มีผลต่อเศรษฐกิจของคนในชุมชน
(ส 3.2 ป.4/1)

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง
(
5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.1
-เข้าใจและสามารถนับช่วงเวลาเป็นศตวรรษและสหัสวรรษ และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส4.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของแอนนิเมชันและเทคโนโลยีการทำและนำไปใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้
(ส4.1 ป.4/2)
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง 2.1 ป.5/1)
- นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปใช้ประยุกต์สร้างสิ่งของเครื่องใช้ทางการแอนนิเมชัน (ง 2.1 ป.5/3)

มาตรฐาน ศ 1.1
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์ภาพระบายสีเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้หลังเรียนโครงงาน
(ศ 1.1 ป.4/4)
- วาดภาพระบายสีโดยใช้สีวรรณะอุ่นและเย็นถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
 (ศ 1.1 ป.4/7)
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรูมาได้
(ศ 3.1 ม.1/3)

มาตรฐาน พ 2.1
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1 ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1ป.4/2)
มาตรฐาน พ 3.1
- สามารถใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แสดงท่าทางบทบาทสมมุติเพื่อสื่อสาร หรือถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(พ3.1ป.5/1)




ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL หน่วย: แสงศิลป์กับชีวิทย์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
4 ภาคเรียนที่ 2 (Quarter 4) ปีการศึกษา 2559


Week
Input
Process
Output
Outcome
1
9-13
ม.ค.2560
โจทย์ : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Question :
- เรามองเห็นสิ่งต่างๆได้อย่างไร
- เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร
- สีต่างๆเกิดขึ้นได้อย่างไร
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
เครื่องมือคิด 
- Round Robin
-
Card and Chart
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- วัสดุอุปกรณ์ทำกล้องสายรุ้งและแตรเสียงช้าง
- สีน้ำ และกระดาษ

- การทดลองประดิษฐ์กล้องสายรุ้ง
- การทดลองแตรเสียงช้าง (แตรวูวูเซล่า)
- การทดลองผสมสี
- นักเรียนตั้งคำถามจาการทดลอง
- นักเรียนสรุปผลการทดลอง พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนตั้งชื่อหน่วยร่วมกัน
- นักเรียนออกแบบชื่อหน่วย พร้อมตกแต่งระบายสีให้สวยงาม
- สรุปบทเรียนจากสิ่งที่ทำร่วมกัน และถ่ายทอดผ่านชิ้นงาน

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- กล้องสายรุ้ง
- แตรเสียงช้าง
- การผสมสี
- ชื่อหน่วยพร้อมภาพประกอบ
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
1

ความรู้
เข้าใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบาย พร้อมกับตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือก
สิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย








Week
Input
Process
Output
Outcome
2
16-20
ม.ค.2560
โจทย์ : ออกแบบ/วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย แสงศิลป์กับชีวิทย์
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย แสงศิลป์กับชีวิทย์

- นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน การเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด 
- Blackboard Share
-
Mind Mapping 
-
Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด




- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
:นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย แสงศิลป์กับชีวิทย์
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับหน่วยแสงศิลป์กับชีวิทย์
: นักเรียนจะสรุปสิ่งที่รู้แล้วทั้งหมดของตนเองอย่างไร
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนเป็นรายบุคคลผ่านเครื่องมือคิด (
Mind Mapping)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
: นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย แงศิลป์กับชีวิทย์
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
: นักเรียนจะออกแบบและวางแผนกิจกรรมจากสิ่งที่อยากเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้
10 สัปดาห์ร่วมกัน
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 2
ภาระงาน
-  แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
-  ช่วยกันเพื่อออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ร่วมกัน
- การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ชิ้นงาน
-  สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ทำปฏิทินการเรียนรู้
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 2

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย



Week
Input
Process
Output
Outcome
3
23-27
..
2560


โจทย์ : การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
Key Question:
- เรามองเห็นแสงได้หรือไม่/มองเห็นได้อย่างไร
- ถ้าโลกของเราไม่มีดวงอาทิตย์จะเกิดอะไรขึ้น
- แสงมีความสำคัญอย่างไร
- แสงที่นักเรียนรู้จักมาจากอะไรได้บ้าง
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการทดลองที่ทำ
- เรามองเห็นแสงได้อย่างไร
- แสงเดินทางอย่างไร
- ดาวหายไปไหน
เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- อินเตอร์เน็ต

- อุปกรณ์การทดลอง

- ครูกระตุ้นด้วยคำถามกับนักเรียนดังนี้
1. เรามองเห็นแสงได้หรือไม่/มองเห็นได้อย่างไร
2. ถ้าโลกของเราไม่มีดวงอาทิตย์จะเกิดอะไรขึ้น
3. แสงมีความสำคัญอย่างไร
4. แสงที่นักเรียนรู้จักมาจากอะไรได้บ้าง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
4 กลุ่มทำการทดลองการเคลื่อนที่ของแสงจากอุปกรณ์ที่แตกต่างกันคือ เทียน ไฟฉาย แสงเลเซอร์ และหลอดไฟ แล้วบันทึกผลการทดลองลงในสมุดบันทึกของตนเอง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนผลการทดลองที่ได้ร่วมกัน โดยครูใช้คำถามกระตุ้น ดังนี้
1.นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการทดลองที่ทำ
2. เรามองเห็นแสงได้อย่างไร
- นักเรียนฝึกตั้งคำถามจากการทดลอง และสิ่งอื่นที่จากรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ และการมองเห็นแสง
- นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพื่อตอบคำถามที่อยากเรียนรู้ หรืข้อสงสัยที่ยังไม่คลี่คลาย
- นักเรียนขมวดชุดความรู้ต่างๆ เพื่อสรุปเป็นความเข้าใจเป็นชิ้นงาน
- นักเรียนอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดร่วมกัน
- ครูพาทำการทดลองการเคลื่อนที่ของแสงด้วยกระจกเงา
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “แสงเคลื่อนที่ได้อย่างไร” “ดาวหายไปไหน”
- นักเรียนแลกเปลี่ยนผลของการทดลองสอดคล้องกับความเข้าใจที่มีเพื่ออธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด พร้อมอธิบายว่าทำไมเรามองไม่เห็นดาวในกลางวัน
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
3

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- ทดลองการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่ง
กำเนิด
- สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขมวดชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจร่วมกัน
ชิ้นงาน
- บันทึกผลการทดลอง
- สรุปทบเรียน
การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
3




ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการทดลอง และอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดต่างๆได้
 
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
4
30 ..
-
3 ..
2560

โจทย์ : การสะท้อนของแสง
Key Question:
- เรามองเห็นได้อย่างไร
- แสงสะท้อนจากวัตถุที่ต่างกันจะมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ /เพราะเหตุใด
- เราจะแยกแสงสะท้อนที่มองเห็นเป็นกี่ลักษณะ/เพราะเหตุใด
- เราจะจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำแสงอย่างไร/เพราะเหตุใด
- สัตว์ต่างๆมองเห็นโลกแตกต่างจากมนุษย์อย่างไร
- นักเรียนจะออกแบบแว่นตาให้เหมือนกับการมองเห็นของสัตว์ได้อย่างไร

เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- อินเตอร์เน็ต

- อุปกรณ์ทำการทดลอง


- ครูกระตุนด้วยคำถาม “เรามองเห็นได้อย่างไร”
- นักเรียนร่วมกันตั้งสมมติฐานของร่วมกันเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเรามองเห็นได้อย่างไร
- ครูพาการทดลองอ่านหนังสือแบบไม่มีแสงและมีแสง
กระตุ้นด้วยคำถามต่อ “เรามองเห็นได้อย่างไร”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเรามองเห็นได้อย่างไรผ่านการทดลอง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “แสงสะท้อนจากวัตถุที่ต่างกันจะมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ /เพราะเหตุใด”
- นักเรียนทำการทดลองโดยครูมีไฟฉายให้กับทุกกลุ่มพร้อมกับให้เลือกวัตถุตัวกลางในการสะท้อนไม่ซ้ำกัน
5 ชิ้น เช่น น้ำ แก้ว กระจก กระดาษ ถุงพลาสติกหนา/บาง กระดาษแข็ง ฯลฯ แล้วบันทึกผลการทดลองแต่ละวัตถุลงในสมุดบันทึกของตนเอง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนผลการทดลองที่ได้ร่วมกัน ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อดังนี้
1. เรารู้ได้อย่างไรว่าแสงตกกระทบ
1. เราจะแยกแสงสะท้อนที่มองเห็นเป็นกี่ลักษณะ/เพราะเหตุใด
2. เราจะจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำแสงอย่างไร/เพราะเหตุใด
- นักเรียนตั้งคำถามกับการทดลอง และข้อสงสัยที่อยากรู้
- นักเรียนค้นหาข้อมูลเพื่อตอบคำถาม และคลี่คลายข้อสงสัยของตนเอง
- นักเรียนขมวดชุดความรู้ต่างๆ เพื่อสรุปเป็นความเข้าใจเป็นชิ้นงาน
- นักเรียนอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ และการจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งแหล่งกำเนิดแสง
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
2 กลุ่มใหญ่ศึกษาเรื่องของโครงสร้างของตามนุษย์กับตัวของสัตว์ โดยครูมีชุดคำถามให้ดังนี้
คำถามชุดที่ 1 การมองของมนุษย์
- ตาของเพื่อสีอะไร/ทำไหมถึงเป็นสีนั้น
- ดวงตาของเรามีโครงสร้างอย่างไร
- ดวงตาของเรามีการทำงานอย่างไร
- เราจะมีวิธีดูแลรักษาดวงตาอย่างไร
คำถามชุดที่ 2 การมองของสัตว์
- สัตว์ต่างๆมองเห็นโลกแตกต่างจากมนุษย์อย่างไร
- ดวงตาของสัตว์มีโครงสร้างอย่างไร
- ดวงตาของสัตว์มีการทำงานอย่างไร
- เราจะประดิษฐ์ดวงตาของสัตว์อะไร/ทำอย่างไร/เพราะเหตุใด
- นักเรียนค้นหาข้อมูลเพื่อตอบคำถามที่ได้รับของแต่ละชุด
- นำมาเสนอ อธิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันว่าเราและสัตว์มองเห็นมองเห็นได้อย่างไร
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
4

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ และการจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งแหล่งกำเนิดแสง
- ทดลองการการสะท้อนของแสงจากวัตถุที่ต่างกัน
- สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขมวดชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจร่วมกัน
- ออกแบบแว่นตาสัตว์
ชิ้นงาน
- บันทึกผลการทดลอง
- แว่นตาสัตว์
- สรุปบทเรียนการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ และจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็น
- ชุดความรู้เรื่องตามนุษย์และตาของสัตว์
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
4






ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการทดลอง และสามารถอธิบายการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ ตลอดจนจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งแหล่งกำเนิดแสงได้

ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
5
6-10 ..
2560

โจทย์ : แสงมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร
Key Question:
- แสงมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร
- พืชที่ไม่ได้รับแสงจะเป็นอย่างไร
- แสงมีประโยชน์อย่างไร /เพราะเหตุใด
- แสงเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้อย่างไร
- แสงมีผลกระทบต่อตัวเราสิ่งมีชีวิตอย่างไร
เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครอบครัว
- อินเตอร์เน็ต




- นักเรียนสังเกตจากการปลูกถั่วงอกแบบกลางแจ้ง กับที่ทึบแสง (ปลูกตั้งแต่สัปดาห์ที่ 4)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “พืชที่ปลูกทั้งสองที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร/เพราะเหตุใด”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันจากการสังเกตต้นถั่วทั้ง
2 ที่
- ครูกระตุ้นต่อ “แสงมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน พร้อมกับตั้งคำถามจากสิ่งที่สงสัย แล้วค้นหาข้อมูลเพื่อตอบและคลี่คลายิ่งที่อยากรู้
- ครูพานักเรียนทดสอบดูแป้งในพืชสีเขียวที่มีการสังเคราะห์แสงออกมาในรู้ของพลังงาน
- นักเรียนตั้งคำถามจากการทดลอง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “แสงเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้อย่างไร”
- ครูพานักเรียนทดลองวางหลอดโซล่าเซลล์ไว้กลางแดดจ้าในช่วงเช้า และมาทดลองปิดใช้ในช่วงบ่ายในห้องเรียน
- นักเรียนตั้งคำถามกับสิ่งที่เห็น และค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับแผงโซล่าเซลล์ และคลี่คลายของสงสัยของตนเอง
- นักเรียนขมวดความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นไฟฟ้าในรูปของชิ้นงาน และนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูพาทำการทดลองการรวมแสงด้วยแว่นขยายเพื่อเผ่ากระดาษเพื่ออธิบายการเปลี่ยนรูปของแสงเป็นพลังงานความร้อน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ “แสงมีผลกระทบต่อตัวเราสิ่งมีชีวิตอย่างไร”
- นักเรียนค้นหาข้อมูลและขมวดชุดความรู้ที่ได้มาเป็นความเข้าใจเพื่ออภิปรายร่วมกัน
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
5

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า
- ทดสอบแป้งในพืชสีเขียว
- สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขมวดชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจร่วมกัน

ชิ้นงาน
- บันทึกผลการทดลอง
- สรุปบทเรียนความสำคัญของแสง
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
5






ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการทดลอง และอธิบายความสำคัญของแสงที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
6
13-17 ..

โจทย์ : แสงมีสีไหม
Key Question:
- เรามองเห็นสีได้อย่างไร
- เราจำแนกสีต่างๆได้อย่างไร
- สีมีทั้งหมดกี่สี
- สีมีรสหรือไม่
- สีแต่ละสีทำให้เรารู้สึกอย่างไร
เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน




1. เรามองเห็นสีได้อย่างไร
2. เราจำแนกสีต่างๆได้อย่างไร
3. สีมีทั้งหมดกี่สี
4. สีมีรสหรือไม่
5. สีแต่ละสีทำให้เรารู้สึกอย่างไร
- ครูแจกแผ่น
CD ให้กับนักเรียนคนละ 1 แผ่น เพื่อสังเกตแสงสีที่สะท้อนจากแผ่น CD โดยนักเรียนวาดภาพและลงสีตามภาพที่เห็น
- นักเรียนตั้งคำถามกับสิ่งที่เห็น หรือสงสัยและอยากรู้
- นักเรียนทดลองส่งกล้องสีรุ้งที่ทำไว้ตั้งแต่สัปดาห์ที่
1 ไปที่ดวงอาทิตย์ แล้วบันทึกสิ่งที่เห็นลงในสมุดบันทึกของตนเอง
- นักเรียนตั้งคำถามกับสิ่งที่ตนเองเห็น ที่ยังอธิบายไม่ได้ แล้วสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- นักเรียนขมวดความเข้าใจจากชุดความรู้เรื่องแสงประกอบด้วยแสงสีต่างๆ
- นักเรียนอภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับแสงประกอบด้วยแสงสีต่างๆ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “สีของแสงเหมือนกับสี

ตามธรรมชาติหรือไม่ /ตาของเรามองได้กี่สี”   
- นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน

- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 6

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับแสงประกอบด้วยแสงสีต่างๆ
- ทดลองการสังเกตแผ่น
CD และการส่องกล้องสายรุ้ง
- สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขมวดชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจร่วมกัน

ชิ้นงาน
- บันทึกผลการทดลอง
- สรุปบทเรียนแสงประกอบด้วยแสงสีต่างๆ
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
6






ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการทดลอง และสามารถอธิบายแสงประกอบด้วยแสงสีต่างๆได้
 
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
7
20-24 ..
2560


โจทย์ : การเกิดเสียง
Key Question:
- เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร /มาจากส่วนไหน
- สร้างเสียงจากอะไรได้บ้าง /ทำได้อย่างไร
- เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร และเสียงมีการเคลื่อนที่อย่างไร
เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครอบครัว
- อินเตอร์เน็ต

- อุปกรณ์ประดิษฐ์กระป๋องร้องได้


- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร /มาจากส่วนไหน/ ร่างกายของเราสร้างเสียงอย่างไร”
- นักเรียนทดลองใช้ร่างกายแต่ละส่วนในการสร้างเสียงด้วยตนเอง
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเกิดเสียงได้อย่างไร
- ครูเปิดคลิปวีดีโอ กระป๋องร้องได้ ดูเสร็จนักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- นักเรียนออกแบบและสร้างกระป๋องร้องได้ของตนเองจากวัสดุเหลือใช้
- นักเรียนนำเสนอกระป๋องร้องได้ พร้อมอธิบายการทำกระป๋องร้องในรูปแบบของตนเอง และทดลองเล่นกระป๋องร้องได้เพื่อฟังเสียงที่เกิดขึ้น
- นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับการทดลอง ข้อสงสัยทำไมถึงเกิดเสียงต่างๆ แล้วค้นหาคำตอบเพื่อคลี่คลายิ่งที่อยากรู้ของตนเอง
- นักเรียนขมวดความเข้าใจจากชุดความรู้เกี่ยวกับการเกิดเสียง และการเคลื่อนที่ของเสียงเป็นชิ้นงาน
- นักเรียนอภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเกิดเสียง และการเคลื่อนที่ของเสียงเป็นชิ้นงาน
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
7

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเกิดเสียง และการเคลื่อนที่ของเสียงเป็นชิ้นงาน
- ทดลองสร้างเสียงจากร่างกายตนเอง
- สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขมวดชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจร่วมกัน

ชิ้นงาน
- บันทึกผลการทดลอง
- สรุปบทเรียนการเกิดเสียง และการเคลื่อนที่ของเสียงเป็นชิ้นงาน
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
7

ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการทดลอง และอธิบายการเกิดเสียง ตลอดจนการเคลื่อนที่ของเสียงที่เราได้ยินได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
8
27 ..
-
3 มี..

2560


โจทย์ : เสียงสูงต่ำกับขนาดของตัวสั่น
Key Question:
- ทำไมเวลาเราตะโกนในโอ่งจึงมีเสียงก้อง
- ขนาดของตัวสั่นมีผลอย่างไรกับเสียงที่เกิดขึ้น
- นักเรียนจะออกแบบเครื่องดนตรีอย่างไรให้มีเสียงที่หลากหลาย
- มนุษย์สามารถรับเสียงดังที่สุดได้แค่ไหนและมีการตรวจสอบได้
อย่างไร
- ต้นไม้ได้ยินเสียงจริงไหม/เพราะเหตุใด
- เสียงบำบัดจิตได้จริงไหม/เพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครอบครัว
- อินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์ทำเครื่องดนตรี


- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ทำไมเวลาเราตะโกนในโอ่งจึงมีเสียงก้อง”
- ครูเปิดคลิปวีดีโอ เสียงสูงต่ำ-ขนาดของตัวสั่น
และกระตุ้นด้วยคำถามต่อ “ขนาดของตัวสั่นมีผลอย่างไรกับเสียงที่เกิดขึ้น” “มนุษย์สามารถรับเสียงดังที่สุดได้แค่ไหนและมีการตรวจสอบได้อย่างไร”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันจากคลิปที่ได้ดู พร้อมกับตั้งคำถามจากคลิปวีดีโอที่ดู และข้อสงสัยที่ยังไม่คลี่คลาย
- นักเรียนค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อตอบคำถามที่สงสัย และอยากรู้
- นักเรียนขมวดความเข้าใจจากชุดความรู้ที่สืบค้นมาในรูปแบบต่างๆ
- นักเรียนอภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง และเสียงค่อยร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะออกแบบเครื่องดนตรีอย่างไรให้มีเสียงที่หลากหลาย”
- นักเรียนจับกลุ่ม
4 คนเพื่อออกแบบเครื่องดนตรี ดีด สี ตี เป่า ในรูปแบบของตนเองและมีเสียงที่หลากหลาย ตลอดจนแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการเตรียมอุปกรณ์ร่วมกัน
- นักเรียนทำการสร้างเครื่องดนตรีตามแบบ และวัสดุที่เตรียมมาร่วมกันเป็นกลุ่ม
- นักเรียนนำเสนอเครื่องดนตรี และอธิบายการทำ พร้อมสาธิตการเล่นร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ต้นไม้ได้ยินเสียงจริงไหม/เพราะเหตุใด และเสียงบำบัดจิตได้จริงไหม/เพราะเหตุใด”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันพร้อมจำแนกเสียงเพลงต่างๆ แล้วมานำเสนอร่วมกัน
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
8

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับขนาดของตัวสั่นให้เกิดเสียง
- สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
- ขมวดชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจร่วมกัน
- ออกแบบและประดิษฐ์เครื่องดนตรีของตนเอง

ชิ้นงาน
- สรุปบทเรียนการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง และเยงค่อย
- เครื่องดนตรี
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
8

ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการทดลอง และอธิบายการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง และเสียงค่อยได้
 
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
9
6-10 มี..

2560



โจทย์ :  ทัศนศึกษา
Key  Questions
- นักเรียนจะออกแบบเส้นทางเพื่อไปทัศนศึกษาอย่างไร
- นักเรียนจะตั้งคำถามเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและเพื่อนๆอย่างไร
- นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด
นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้มาปรับใช้อย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง และจะนำมาปรับใช้อย่างไร
เครื่องมือคิด
:
- Brainstorms 
- Flow Chart  
- Wall  Thinking  
- Show and Share  
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- วิทยากร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อินเตอร์เน็ต
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะออกแบบเส้นทางเพื่อไปทัศนศึกษาอย่างไร
- นักเรียนจับกลุ่มเพื่อค้นหาเส้นทางไปทัศนศึกษาที่
ศูนย์ดาราศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา(ท้องฟ้าจำลอง) จ.นครราชสีมา
- นักเรียนสรุปเส้นทางโดยออกแบบเป็นแผนที่การเดินทาง พร้อมอธิบายตำแหน่งของสถานที่ต่างๆที่อยู่ใกล้เคียงกับเส้นทาง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเส้นทางทั้งหมดที่สามารถไปถึง
ศูนย์ดาราศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา(ท้องฟ้าจำลอง) จ.นครราชสีมาได้ และเลือกเส้นทางที่เหมาะสมร่วมกัน
- ครูให้โจทย์นักเรียน “
นักเรียนจะตั้งคำถามเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและเพื่อนๆอย่างไร
- นักเรียนตั้งคำถามเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและเพื่อนๆ คนละ
10 คำถาม
- นักเรียนแลกเปลี่ยนและนำเสนอคำถาม
10 ข้อที่สร้างขึ้นร่วมกัน
- ครูและนักเรียนนัดหมาย และเตรียมความพร้อมก่อนการเดินทาง และส่งใบขออนุญาตผู้ปกครองเพื่อนำนักเรียนไปทัศนศึกษา
- ผู้ปกครองมาส่งนักเรียนตามเวลาที่กำหนดเพื่อเดินทางไปทัศนศึกษา โดยใช้รถตู้ของโรงเรียนจำนวน
2 คันผู้ปกครองของพี่ก้องและพี่วาหวาขับรถให้

- นักเรียนได้เรียนรู้ตามแผนกำหนดการที่วางไว้
- นักเรียนถอดบทเรียนจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน พร้อมเขียนสิ่งที่ประทับใจจากการไปทัศนศึกษาครั้งนี้
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-
นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 9


ภาระงาน
- ค้นหาเส้นทางร่วมกันเป็นกลุ่ม
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเส้นทางในการไปทัศนศึกษา  
- นักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการไปทัศนศึกษา

ชิ้นงาน
- แผนที่การเดินทางไปทัศนศึกษา
- ถอดบทเรียนจากการไปทัศนศึกษา
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่
9


ความรู้:
นักเรียนสามารถออกแบบเส้นทางเพื่อไปทัศนศึกษา และเป็นนักเรียนรู้ที่ดีเพื่อนำมาปรับใช้กับตนเองได้ ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
10
13-17 มี..

2560


โจทย์ :
- นิทรรศการ “แสงศิลป์กับชวิทย์
- การแสดงละคร
Key  Question
นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วยแสงศิลป์กับชีวิทย์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin 
- Mind Mapping
- Wall  Thinking   
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ศึกษาผ่านมาเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ใน Quarter นี้ให้ผู้อื่นเรียนรู้ร่วมได้อย่างไร?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน หน่วยการเรียนรู้ใน Quarter นี้
-  นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการ “แสงศิลป์กับชีวิทย์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว และอะไรที่ต้องพัฒนา
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์นี้ร่วมกัน
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนในสัปดาห์นี้ ผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- นักเรียนถอดบทเรียนหน่วยการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 4แสงศิลป์กับชีวิทย์
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 10
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ใน Quarter นี้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
- การวางแผนการแสดงละคร/ร้องเพลง
ชิ้นงาน
- ถอดบทเรียนจากการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 4
- ประเมินตนเอง
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนสรุปบทเรียนรายสัปดาห์ที่ 10
ความรู้:
สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการมองเห็น และการได้ยินเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
ทักษะ

ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น